วันที่นำเข้าข้อมูล 20 ต.ค. 2564
วันที่ปรับปรุงข้อมูล 30 พ.ย. 2565
ที่ตั้ง
แขวงสาละวันตั้งอยู่ตอนใต้ของ สปป. ลาว
ทิศเหนือ |
ติดกับแขวงสะหวันนะเขต |
ทิศใต้ |
ติดกับแขวงจำปาสัก |
ทิศตะวันออก |
ติดกับแขวงเซกอง และจ.เถื่อเทียนเว้ เวียดนาม |
ทิศตะวันตก |
ติดกับจังหวัดอุบลราชธานี |
การแบ่งเขตการปกครอง
8 เมือง ได้แก่ สาละวัน ละคอนเพ็ง คงเซโดน เหล่างาม ตุ้มลาน ตะโอ้ย สะม่วย วาปี
ภูมิประเทศ
แขวงสาละวันมีพื้นที่ทั้งหมด 10,691 ตร.กม. ภูมิประเทศแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
เขตภูเขา |
(เมืองตะโอย และสะม่วย) คิดเป็นร้อยละ 40 ของเนื้อที่แขวงฯ พื้นที่ค่อยๆ ลาดชัน จึงเหมาะสมแก่การปลูกไม้อุตสาหกรรม ไม้ผล กาแฟ และเลี้ยงสัตว์ใหญ่ |
เขตที่สูง |
(เมืองเหล่างาม) คิดเป็นร้อยละ 20 ของพื้นที่แขวงฯ เหมาะสำหรับการปลูกกาแฟ เร่ว (หมากแหน่ง) กล้วย ถั่วดิน ถั่วเหลือง มะเดื่อ ผักเมืองหนาว ฝ้าย และไม้ผล |
เขตที่ราบ |
(เมืองสาละวัน เมืองวาปี เมืองตุ้มลาน เมืองคงเซโดน และเมืองละคอนเพ็ง) คิดเป็นร้อยละ 40 ของพื้นที่แขวงฯ เป็นทุ่งกว้าง อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การปลูกข้าว พืชตระกูลถั่ว ประมง |
ประชากร
รายได้ต่อหัวต่อปี
710 ดอลลาร์สหรัฐ (2555)
ทรัพยากรธรรมชาติ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การค้ากับต่างประเทศ/จุดผ่านแดน
รายชื่อเอกชนไทยที่ลงทุนในแขวงสาละวัน
รวม 7 บริษัท ได้แก่
การลงทุนจากเวียดนาม อาทิ บ. กาวซู Daklak ปลูกยางพาราในพื้นที่มากกว่า 20,000 เฮกตาร์ เพื่อส่งให้โรงงาน ยางพาราที่จะสร้างต่อไปในเมืองเหล่างาม บ.หูฟูโก ปลูกมันสำปะหลังและสร้างโรงงานบดแป้งมันสำปะหลังที่เมืองเหล่างาม
การลงทุนจากจีน อาทิ บ. Zhong Ya Yuxi สร้างโรงงานซีเมนต์ขนาดใหญ่มูลค่าการลงทุน 30 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่เมืองสาละวัน คาดว่าจะผลิตซีเมนต์ได้ปีละ 4 – 5 แสนตัน
โครงการที่แขวงฯ ต้องการให้มีการลงทุน
ได้แก่ การเพาะปลูกพืชอุตสาหกรรมและไม้ผลที่เมืองสาละวัน เมืองตุ้มลาน การแปรรูปผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น อาทิ กาแฟ กล้วย ถั่วลิสง ถั่วเหลือง มันสำปะหลัง รวมทั้งด้านบริการและการท่องเที่ยว
มีด่านท้องถิ่น 2 แห่ง คือ
1. ด่านท้องถิ่นบ้านคันทงไซ เมืองคงเซโดน (ตรงข้ามด่านคันท่าเกวียน ต.นาโพธิ์กลาง อ.โขงเจียม
จ. อุบลราชธานี) ห่างตัวเมืองสาละวัน 73 กม.
2. ด่านท้องถิ่นบ้านปากตะพาน เมืองละคอนเพ็ง แขวงสาละวัน (ตรงข้ามด่านปากแซง กิ่ง อ.นาตาล
จ.อุบลราชธานี) ห่างตัวเมืองสาละวัน 40 กม.
สาธารณสุข
การศึกษา
การท่องเที่ยว
มีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและประวัติศาสตร์ ได้แก่
คมนาคม
หมายเหตุ: เส้นทางหมายเลข 15 มีความยาวในสาละวัน147 กม. (จากแขวงสาละวันถึงเว้ เวียดนาม 265 กม.) ไปยังเวียดนามได้ 2 ทาง คือ ทางกวางจิ และทางเว้ และเส้นทาง ระหว่างอุบลราชธานี– สาละวัน – เว้ ประมาณ 500 กม.
รูปภาพประกอบ