รู้จักกับกฎหมายภาษีสรรพสามิตของ สปป.ลาว ฉบับใหม่

รู้จักกับกฎหมายภาษีสรรพสามิตของ สปป.ลาว ฉบับใหม่

วันที่นำเข้าข้อมูล 16 ก.ค. 2563

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 30 พ.ย. 2565

| 7,018 view

          รัฐบาล สปป.ลาว ออกกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) ฉบับใหม่ หรือที่ภาษาลาวเรียกว่า อากรชมใช้ เลขที่ ๖๘/สพช ลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๒ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๓ ที่ผ่านมา โดยจัดเก็บภาษีจากการใช้สินค้าบางประเภทที่นำเข้าหรือผลิตภายใน และการบริการของบุคคล นิติบุคคลและองค์กรมหาชน ที่อยู่ภายใน สปป.ลาว ในอัตราภาษีร้อยละ ๓ – ๑๐๐ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

          ๑. อัตราภาษีสรรพสามิตของสินค้าทั่วไป

ลำดับ

ประเภทสินค้าทั่วไปที่ต้องเสียภาษีสรรพสามิต

อัตราเทียบฐานการคำนวณคิดเป็นร้อยละ (%)

น้ำมันเชื้อเพลิง

 

๑. น้ำมันเบนซินพิเศษ

๓๕

 

๒. น้ำมันเบนซินธรรมดา

๓๐

 

๓. น้ำมันดีเซล

๒๐

 

๔. น้ำมันเครื่องบิน

 

๕. น้ำมันเตา น้ำมันเครื่อง น้ำมันไฮโดรริก น้ำมันล่อลื่น น้ำมันเบรก

พาหะนะ

 

๑. รถจักรยายนต์ ที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิง

ซีบียู - CBU

ซีเคดี - CKD

ไอเคดี - IKD

 

- ที่มีความจุกระบอกสูบตั้งแต่ ๑๐๐ ซีซี ลงมา

๑๐

 

    - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๑๐๐ – ๑๕๐ซีซี

๒๐

สำหรับความแรงเกิน ๑๑๐ ซีซี  ขึ้นไป ให้เก็บภาษีตามอัตรา ซีบียู

 

    - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๑๕๐ – ๒๐๐ ซีซี

๒๕

 

    - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๒๐๐ – ๒๕๐ ซีซี

๓๕

 

    - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๒๕๐ – ๕๐๐ ซีซี

๗๐

 

    - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๕๐๐ – ๘๐๐ ซีซี

๙๐

 

    - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๘๐๐ ซีซี

๑๐๐

 

๒. รถยนต์

 

 

  ๒.๑ รถยนต์ขนาดเล็ก

 

    ๒.๑.๑ รถยนต์โดยสารประเภท รถเก๋ง รถจิ๊ป รถตู้ รถกระบะสี่ประตูขึ้นไป

 

         (๑) รถยนต์ที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิง

 

         - ที่มีความจุกระบอกสูบตั้งแต่ ๑,๐๐๐ ซีซี ลงมา

๒๕

 

              - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๑,๐๐๐ – ๑,๖๐๐ ซีซี

๓๐

 

         - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๑,๖๐๐ – ๒,๐๐๐ ซีซี

๓๕

 

              - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๒,๐๐๐ – ๒,๕๐๐ ซีซี

๔๐

 

         - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๒,๕๐๐ – ๓,๐๐๐ ซีซี

๔๕

 

              - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๓,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ ซีซี

๗๐

 

         - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๔,๐๐๐ – ๕,๐๐๐ ซีซี

๘๕

 

              - ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน ๕,๐๐๐ ซีซี

๙๐

 

          (๒)  รถยนต์โดยสารที่ใช้พลังงานสองระบบ คือ พลังงานเชื้อเพลิง

                 และพลังงานทดแทนอื่น

ร้อยละ ๕๐ ของอัตราตามความแรงที่กำหนดไว้ใน (๑)

 

          (๓)  รถยนต์โดยสารที่ใช้พลังงานสะอาด

 

     ๒.๑.๒ รถยนต์ขนส่งสินค้า ประเภท รถกระบะ ๒ ประตู และ รถกระบะ ๒ ประตูครึ่ง

 

         - ใช้พลังงานเชื้อเพลิง

๑๕

 

         - ใช้พลังงานสะอาด

 

     ๒.๑.๓ รถยนต์โดยสารและรถยนต์ขนส่งสินค้าขนาดเล็กอื่น

 

         - ใช้พลังงานเชื้อเพลิง

๑๐

 

         - ใช้พลังงานสะอาด

 

   ๒.๒ รถยนต์โดยสารและรถยนต์ขนส่งสินค้าขนาดกลาง

 

         - ใช้พลังงานเชื้อเพลิง

 

         - ใช้พลังงานสะอาด

 

   ๒.๓ รถยนต์โดยสารและรถยนต์ขนส่งสินค้าขนาดใหญ่

 

         - ใช้พลังงานเชื้อเพลิง

 

         - ใช้พลังงานสะอาด

 

   ๒.๔ รถตู้แช่เย็น รถบรรทุกของเหลว แก็ส หรือผงปูนซีเมนต์ รถบรรทุก

         น้ำมัน รถบรรทุกน้ำ รถเครน รถโฟล์คลิฟท์ รถโม่ปูนซีเมนต์

         รถดูดสิ่งปฏิกูล รถฉีดพ่นทุกชนิด และรถบ้านเคลื่อนที่

๑๐

 

   ๒.๕ รถหัวลาก/หางลาก และครึ่งหางลาก

 

   ๒.๖ รถกอล์ฟและรถที่ใช้ในสนามกอล์ฟ

๑๐

 

   ๒.๗ รถท่องเที่ยวเฉพาะที่ใช้ในแหล่งท่องเที่ยว

 

   ๒.๘ รถจักรยายนต์สี่ล้อ (ATV) และรถโกคาร์ท (Gokart)

๒๕

ชิ้นส่วนประกอบนำเข้าที่ไม่อยู่ในระบบโรงงานภายในประเทศ และอุปกรณ์เปลี่ยนถ่ายอะไหล่

 

   - รถจักรยานยนต์

 

   - รถยนต์โดยสารและรถยนต์ขนส่งสินค้าทุกขนาด

๑๐

อุปกรณ์ตกแต่งยานพาหนะ

 

   - เครื่องเสียง

๒๐

 

   - อุปกรณ์ตกแต่งยานพาหะนะ

๑๕

 

 

   - เหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เกินร้อยละ ๒๓

๗๐

 

   - เหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ตั้งแต่ร้อยละ ๒๓ ลงมา

๖๐

เบียร์

๕๐

ประเภทบุหรี่

 

   - บุหรี่ซิการ์ บุหรี่มวนหรือซอง และบุหรี่ประเภทอื่น

๕๐

 

   - บุหรี่ไฟฟ้า น้ำยาที่มีส่วนผสมของนิโคตินสำหรับใช้กับบุหรี่ไฟฟ้า

๖๐

 

   - ยาเส้น

๓๕

­๘

แก๊สที่ใช้สำหรับยานพาหะนะ

๑๐

เครื่องดื่มสำเร็จรูป

 

   - น้ำอัดลม โซดา เครื่องดื่มประเภทกาแฟ และเครื่องดื่มอื่นที่ใกล้เคียงกัน

 

   - เครื่องดื่มชูกำลัง

๑๐

๑๐

แก้วคริสตัลที่เป็นของใช้และใช้ประดับ  โคมไฟประดับ

๒๐

๑๑

พรมที่ทำด้วยขนแกะหรือขนละเอียดของสัตว์

๑๕

๑๒

น้ำหอม ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง อุปกรณ์ที่ใช้ในการเสริมสวย

และเสริมความงาม

๒๐

๑๓

ไพ่และอุปกรณ์เล่นการพนันทุกชนิดที่ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง

๙๐

๑๔

บั้งไฟ ดอกไม้ไฟ ประทัดที่ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง

๘๐

๑๕

เรือเร็ว เรือยอร์ช และเรือที่ใช้ในกีฬาที่วิ่งด้วยเครื่องจักร

๒๐

๑๖

อุปกรณ์รับสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม

๑๕

๑๗

เครื่องเล่นเสียงและภาพ กล้องถ่ายภาพ โทรศัพท์ เครื่องอัดเสียงและภาพ เครื่องดนตรี

๑๐

๑๘

เครื่องบินไร้คนขับ เครื่องถ่ายภาพทางอากาศ เครื่องบินด้วยร่ม

และเครื่องจักรไอพ่นขนาดเล็ก

๒๐

๑๙

โต๊ะบิลเลียด โต๊ะสนุกเกอร์ อุปกรณ์โบว์ลิ่ง โต๊ะเล่นฟุตบอล

๓๐

๒๐

ตู้เกมส์หยอดเหรียญ และอุปกรณ์เล่นเกมส์ทุกประเภท

๓๕

 

          ๒. อัตราภาษีสรรพสามิตสำหรับการบริการ

ลำดับ

การบริการที่ต้องเสียภาษีสรรพสามิต

อัตราร้อยละ (%)

การบันเทิง : การเต้นรำ ดิสโก้เทค คาราโอเกะ

๓๕

กิจการโบว์ลิ่ง

๒๐

กิจการศัลยกรรมเสริมความงาม

๑๐

กิจการบริการโทรศัพท์ สัญญาณโทรทัศน์สายใยแก้วนำแสง สัญญาณโทรทัศน์ดิจิตอล

กิจการบริการอินเตอร์เน็ต

กิจการสนามกอล์ฟ

๒๐

กิจการหวย

๒๕

กิจการคาสิโนและตู้เกมส์หยอดเหรียญ และการเล่นเกมส์ทุกประเภท

๕๐

กิจการแข่งรถ แข่งม้า ชนไก่

๒๕

๑๐

กิจการบอลลูน บริการบินด้วยร่มหรือเครื่องจักรไอพ่นขนาดเล็ก

บริการถ่ายภาพทางอากาศ

๑๐

**********************

ที่มา - กฎหมายว่าด้วยอากรชมใช้ (ภาษีสรรพสามิต) เลขที่ ๖๘/สพช ลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๒ (ค.ศ. ๒๐๑๙)